วันศุกร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ความขัดแย้งทางการเมือง

ความขัดแย้งทางการเมืองไทยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาสร้างความเสียหายให้เกิดขึ้นกับเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ทําให้ประเทศขาดความมั่นคงและสญูเสียอํานาจการแข่งปัจจัยสําคัญดังกล่าวข้า้งต้นถือเป็นความจําเป็นอย่างเร่งด่วนที่ประชาชนคนไทยจะต้องมีความปรองดองหันหน้าเข้าหากันเพื่อเปลี่ยนวิกฤตครั้งนี้ให้เป็นโอกาสที่จะฟื้นฟูความสงบสุขและสร้างความเชื่อมั่นของประชาชนและ         นักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศที่มีต่อชาติบ้านเมืองให้กลับคืนมา ประการส าคัญ ความขัดแย้งทางการเมืองที่เกิดขึ้นกับคนในชาติขณะนี้มาจากความแตกต่างทางความคิดซึ่งล้วนแต่มีเจตนาดีต่อชาติบ้านเมืองด้วยกันทั้งสิ้น จึงจ าเป็นที่ประเทศไทยจะต้องยุติความขัดแย้งและสร้างความปรองดองให้เกิดขึ้นกับคนในชาติโดยเร็วที่สุด ทางแก้ไขที่ถูกต้องควรจะเกิดจากการวางกรอบกติกาของสังคมหรือการแก้ไขและยึดถือกติกาของประชาธิปไตย พร้อมไปกับการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองระบอบประชาธิปไตยให้เกิดขึ้นในหัวใจของผู้คนพลเมืองจึงจะเป็นถนนสู่ความปรองดอง ประเด็นปัญหาความขัดแย้งในสังคมไทย คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สภาผู้แทนราษฎร และสถาบันพระปกเกล้า ทางการศึกษาวิจัยค้นหาปจัจยัและแนวทางที่จะี ทําให้การสร้างความปรองดองแห่งชาติประสบความส าเร็จได้สรุปประเด็นปัญหา
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้น ดังนี้
1. ความเข้าใจประชาธิปไตยที่แตกต่างกนั ของทั้งสองกลุ่ม อันได้แก่ 1) ประชาธิปไตยที่เน้นเสียงข้างมาก
ให้ความส าคัญกับเสียงข้างมากในระบบเลือกตั้ง และประชาธิปไตยแบบที่จับต้องได้ 2) ประชาธิปไตยที่เน้นคุณธรรม
เพราะประชาธิปไตยมีองค์ประกอบที่หลากหลายและปรับเปลี่ยนไปตามบริบทและวัฒนธรรมทางการเมืองของแต่ละ
สังคม

2. ความเคลือบแคลงในหลกันิติธรรม (Rule of Law) ของประเทศไทย เกิดการใชอ้ านาจทท่ี าใหอ้ กีฝ่าย
หนึ่งรู้สึกไม่เป็นธรรม ในแง่ของการแสวงหาและรักษาอ านาจ ตลอดจนผลประโยชน์ของกลุ่มตนบนพื้นฐานของความ
เชื่อที่แตกต่างกันของระบบการจัดการอ านาจและทรัพยากรในสังคม การใช้อ านาจที่อีกฝ่ายรูส้ กึว่าไม่เป็นธรรมยงัเกดิ
จากบริบททางสังคมที่มีความไม่เป็นธรรมและความแตกต่างในเชิงอุดมการณ์ทางการเมืองระหว่างหลากหลายกลุ่ม
ผลประโยชน์ในสังคมนั้น เช่น การตัดสินคดีของศาลเมื่อผลของค าวินิจฉัยออกมาในลักษณะที่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วย
เหตุผลและหลักนิติธรรมท าให้ศาลถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักว่าอาจถูกชักน าโดยอ านาจที่ไม่ชอบธรรมตามกรอบของ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ

3. ตุลาการภิวฒั น์ การแทรกแซงองคก์ รอิสระ ฝ่ายตุลาการเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในการถ่วงดุลอ านาจ ทําให้เกิดข้อวิพากษ์วิจารณ์ในลักษณะที่ไม่ยอมรับกลไกของกระบวนการยุติธรรม และน าไปสู่การโจมตีบทบาทดังกล่าว
ทําให้สังคมมีสภาพที่เสมือนหนึ่งขาดผู้รักษากติกาที่เป็นกลางในสถานการณ์ความขัดแย้งเช่นนี้ นอกจากนี้ องค์กรอิสระต่างๆ ถูกวพิากษ์วจิารณ์ว่ามกีารแทรกแซงจากทงั้ฝา่ ยการเมอืงและฝา่ ยระบบราชการ ทา ใหเ้กดิการวพิากษ์วจิารณ์ต่อการปฏิบัติหน้าที่อย่างไม่โปร่งใสและไม่เป็นกลาง โดยเฉพาะศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) และคณะกรรมการป้องกนัและปราบปรามการทุจรติแห่งชาต ิ(ปปช.) จนกลายเป็นสาเหตุประการหนึ่งที่น าไปสู่ความขัดแย้งทางการเมือง ประเด็นเหล่านี้น าไปสู่การสร้างการรับรู้ว่ากระบวนการยุติธรรมมีสองมาตรฐาน

4. การรัฐประหาร และบทบาทของทหารในการจัดการความขัดแย้ง การรัฐประหารที่เกิดขึ้นจึงไม่
สามารถแกไ้ขปญั หาความแตกแยกไดแ้ ต่กลบัไปเพมิ่ เง่อืนไขอ่นืทเ่ีพมิ่ ความขดัแยง้ใหม้ากขน้ึ เช่น การจดัตงั้องคก์ รทม่ีี
บทบาทต่อการยุติธรรมเพื่อผลประโยชน์ในทางการเมอืงอนัเป็นการท าลายหลกันิตธิรรมซง่ึกลายเป็นปญั หาระยะยาว
ของประเทศ อันส่งผลลบต่อพัฒนาการของระบอบประชาธิปไตย นอกจากนี้ การใช้ทหารเข้ามาจัดการควบคุมและ
ด าเนินการกับผู้เข้าร่วมชุมนุมทั้งในเหตุการณ์ชุมนุมเมื่อเดือนเมษายน 2552 หรือระหว่างเดือนเมษายน – พฤษภาคม
2553 ไม่สอดคล้องกับบทบาทของทหารที่ถูกฝึกขึ้นมาเพื่อปราบปรามศัตรูผู้รุกรานมากกว่าที่จะด าเนินการกับผู้ชุมนุม
ซึ่งมีความเชื่อหรืออุดมการณ์ที่ต่างกัน การขาดความรู้ความช านาญและการมีค่านิยมของหน่วยงานที่ต้องการ
ปราบปรามฝา่ ยตรงขา้มจงึเป็นปจัจยัทก่ีระตุน้ ใหค้วามรุนแรงขยายตัวมากยิ่งขึ้น 2

5. ความเหลื่อมล ้าทางเศรษฐกิจและสงัคม ปญั หาความเหล่ือมล้ าและการขาดแคลนทรพั ยากรหรือ
สวสัดกิารขนั้พน้ืฐาน เป็นบรบิ ทของประเทศไทยทม่ี คีวามยดืเยอ้ืยาวนาน และเป็นฉากของปญั หาความขดัแย้งในทางการเมือง ซึ่งถูกน ามาใช้อธิบายความชอบธรรมที่จะเข้าไปมอี านาจเพ่อืแกป้ ญั หาดงักล่าวของแต่ละฝ่าย ทงั้น้ี อาจแบ่งความเหลื่อมล ้าทางสังคมได้ 2 ประเภท ได้แก่ 1) ความเหลื่อมล ้าทางเศรษฐกิจ 2) ความเหลื่อมล ้าในการเข้าถึงบริการพื้นฐานของรัฐ

6. การขยายตัวของสื่อการเมืองและสื่อบุคคล การขยายตัวของสื่อการเมืองและสื่อบุคคลที่มีบทบาทใน
การเผยแพร่ขอ้ มูล ตลอดจนความคดิเหน็ เฉพาะในส่วนท่สีนับสนุนฝ่ายตนและต่อต้านฝ่ายตรงขา้ม ส่อืเหล่าน้ีรฐัไม่
สามารถควบคุมได้ การเผยแพร่ข้อมูลในลักษณะการโฆษณาชวนเชื่อ หรือการเผยแพร่ถ้อยค าที่ท าให้เกิดความเกลียด
ชังจึงท าได้ง่าย

7. การกล่าวอ้างสถาบนั พระมหากษตัริยเ์พื่อประโยชน์ทางการเมือง ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในความขัดแย้ง
ซึ่งไม่ต้องการสูญเสียอ านาจหรือผลประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่เกิดขึ้น พยายามรักษาสถานภาพของ
ตนโดยการกล่าวอ้างสถาบันพระมหากษัตริย์หรือดึงสถาบันพระมหากษัตริย์มาเป็นประเด็นทางการเมืองเพื่อสร้าง
ความชอบธรรมจากมวลชนในการเคลื่อนไหวทางการเมืองของตน

8. สังคมขาดองคค์ วามรใู้นการจดัการความขดัแย้งและสนั ติวิธี การที่สังคมขาดองค์ความรู้ในการจัดการ
ความขดัแย้งและสนั ติวธิสี่งผลให้ผู้ท่ีเก่ยีวขอ้งกบั ความขดัแย้งใช้วธิีการแก้ไขปญั หาความขดัแย้งด้วยความรุนแรง
เพราะเช่อืว่าเม่อืเกดิความรุนแรงแลว้รฐัจะใชก้า ลงัในการปราบปรามให้ฝ้ายตรงขา้มแพ ้โดยทั้งสองฝ่ายถือว่าฝ่ายใดที่ใช้กําลังก่อนเป็นผู้แพ้

9. ความขัดแย้งแบบเดิมพนั สูง เมื่อความขัดแย้งด าเนินไป การเดิมพันแพ้ชนะก็ยิ่งสูงขึ้นเรื่อยๆ จึงนํามาสู่การระดมสรรพกําลังและมวลชนแบบทุ่มสุดตัว และน าเสนอข้อเรียกร้องในลักษณะที่ไม่ให้ทางเลือกหรือประนีประนอมรอมชอมักบนฝ่ายเ่ีป็นคัดแย้งแต่อย่างใด มกีารเปิดประเดน็ ความขดัแยง้ใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง

                            รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย พทุ ธศกัราช 2550 และการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดที่วางหลักเกณฑ์เกี่ยวกับโครงสร้างทางสังคม การเมืองและการปกครองของประเทศ จึงเป็นหัวใจของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยภายใต้หลักนิติธรรมด้วยความส าคัญของรัฐธรรมนูญในฐานะกฎหมายสูงสุดดังกล่าวจึงมีความจ าเป็นที่ต้องได้การรับการยอมรับอย่างแท้จรงิจากทุกฝ่าย ปญัหาความขัดแย้งในปจัจุบันจึงเช่ือมโยงกบั ผลจากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย พ.ศ.2550 ซึ่งมีที่มาจากการรัฐประหาร และการล้มล้างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญที่ร่างโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างชัดเจน จนมีการกล่าวอ้างถึงโดยทั่วไปว่าเป็น “รัฐธรรมนูญของประชาชน” รัฐธรรมนูญฉบบัปจัจุบนัจงึมปีญั หาเร่อืงการยอมรบัจากประชาชน ดังนั้น การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญจะต้องสอดคล้องกับหลักนิติธรรม หลักความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ และด าเนินไปอย่างถูกต้องตามหลักการและกระบวนการที่กาหนด
ไว้ในรัฐธรรมนูญ บนพื้นฐานของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ในสังคมประชาธิปไตยของประเทศต่างๆ นั้น ย่อมมีจุดมุ่งหมายส าคัญให้สังคมเป็นระเบียบเรียบร้อย ทุกฝ่ายให้ความเคารพในสิทธิเสรีภาพซึ่งกันและกัน จึงจ าเป็นต้องมีกติกาของประชาธิปไตยหรือกฎหมายแม่บทเพื่อเป็นหลักในการบัญญัติกฎหมายในการจัดระเบียบของสังคมให้มีความสันติสุข กฎหมายแม่บทดังกล่าวคือ “รัฐธรรมนูญ” ซึ่งอาจมีสาระส าคัญแตกต่างกันไปตามลัทธิการปกครองของแต่ละประเทศ อย่างไรก็ตาม โครงสร้างหลักของรัฐธรรมนูญจะระบุเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางอ านาจในการปกครอง ทั้งอ านาจนิติบัญญัติ อ านาจบริหาร อ านาจตุลาการ รวมทั้งบทบัญญัติอื่นๆ ที่เป็นองค์ประกอบส าคัญของการปกครองแต่ละสังคมด้วย โดยลักษณะของรัฐธรรมนูญอาจแตกต่างกันออกไป ทั้งนี้อาจมีการแก้ไข เพิ่มเติม ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงบทบัญญัติต่างๆ ได้ตามความเหมาะสมเพื่อตอบสนองหรือแกป้ญัหาให้กับสังคม รวมถึงเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการลดความขดัแยง้ในสงัคมอกี ดว้ ย ดงันัน้ หากสงัคมใดก าลงั
เผชญิกบัทางตนัในการแกไ้ขปญั หาความขดัแยง้อาจกล่าวไดว้่า การวางกรอบกตกิาของประชาธปิไตยจะเป็นส่วนหนึ่งของทางออกในการแกป้ ญั หา “การแก้ไขและยึดถือกติกาจึงเป็นถนนสู่ความปรองดอง”
ประเทศสหรัฐอเมริกาก็เช่นกัน ได้ก าหนดให้รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกาเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศและเป็นเครื่องมือส าคัญในการปกครองประเทศซึ่งก่อให้เกิดความเจริญมั่นคงทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม 3 สหรัฐอเมริกาก็เป็นอีกประเทศหน่ึงท่ีไม่มีปญั หาในเร่ืองบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ และการใช้รัฐธรรมนูญของนักการเมืองและประชาชนชาวอเมริกา ทั้งๆ ที่ประชาชนชาวอเมริกานั้น แตกต่างกันในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ผิวสี ภาษา วัฒนธรรม ฯลฯ เป็นอย่างมากประกอบทั้งรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกาก็บัญญัติขึ้นมาใช้ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1789 หลังจากที่สหรัฐอเมริกา ประกาศอิสรภาพไม่ขึ้นอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ โดยมีการแยกองค์กรการปกครองประเทศออกเป็นฝ่าย
นิติบญัญตัิฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ ซ่งึรู้จกั กนัในนาม "หลักการแบ่งแยกอ านาจ" มีการบัญญัติให้รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด และยอมรับอ านาจสูงสุดของประชาชนชาวสหรัฐอเมริกา โดยเรียกว่า  "อานาจอธิปไตย" การจัดท ารัฐธรรมนูญของสหรัฐ เป็นต้นแบบให้ประเทศต่างๆ เอาเป็นแบบอย่าง ไม่ว่าจะเป็นรัฐธรรมนูญฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ สเปน เป็นต้น นอกจากนั้น รัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกายังเป็นการน าเอาแนวคิดของนักปรัชญาที่ถูกเถียงกันอย่างเป็นนามธรรมมาบัญญัติ ไว้อย่างเป็นรูปธรรม ไม่ว่าจะเป็นการแบ่งแยกอ านาจ หลักอ านาจอธิปไตย หลักสัญญาประชาคม ด้วยเหตุนี้เอง นักกฎหมายบางท่านจึงเห็นว่า รัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกา เป็นรัฐธรรมนูญอันเป็นลายลักษณ์อักษรฉบับแรกของโลกและเป็นอนุสาวรีย์แห่งกฎหมายมหาชน เป็นเวลากว่า 200 ปี ที่รัฐธรรมนูญสหรัฐใช้เป็นหลักดําเนินกิจกรรมทางการเมืองอย่างราบรื่นและต่อเนื่อง อาจจะมีการแก้ไขบทบัญญัติบางมาตราที่ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ทางการเมืองที่เปลี่ยนไป แต่ก็ไม่มากและไม่เป็นการแก้หลักการส าคัญ หรือมีการยกเลิก
รัฐธรรมนูญทั้งฉบับเหมือนกับบางประเทศที่พลเมืองยังมีระดับของการพัฒนาทางการเมืองอยู่ในระดับที่ไม่น่าพอใจ อาจกล่าวได้ว่ารัฐธรรมนูญได้สร้างให้คนอเมริกัน “มีความภาคภมูิใจในความเป็นพลเมืองและเกิดความร้สูึกเป็นเจ้าของร่วมในรฐัธรรมนูญ” การสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองระบอบประชาธิปไตยในวิถีชีวิตที่น่าสนใจในกรณีประเทศอังกฤษ จะพบว่ารัฐธรรมนูญของอังกฤษไม่ได้บัญญัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร หากแต่ถือปฏิบัติตามจารีต ประเพณีที่บรรพบุรุษได้สร้างขึ้นและปฏิบัติต่อกันมาด้วยความมั่นคงไม่บิดเบือน หรือ บางส่วนของรัฐธรรมนูญจะบัญญัติเป็นลายลักษณ์อักษรก็กระจัดกระจายอยู่ในกฎหมายต่างๆ ไม่มีการรวบรวมเป็นหมวดหมู่เหมือนรัฐธรรมนูญของประเทศต่างๆ ทั่วโลก แต่คน
องักฤษและนักการเมอืงองักฤษกไ็ม่มปี ญั หาในการใช้รฐัธรรมนูญของตน กังจะเห็นว่าเมื่อเกิดปัญหาทางการเมอืงส าคัญๆ ขึ้น นักการเมืองอังกฤษก็สามารถผ่านวิกฤติดังกล่าวไปได้อย่างราบรื่น และไม่มีการเรียกร้องให้มีการตีความหรือสร้างความชัดเจนในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ เหมือนกับที่เกิดขึ้นอย่างวุ่นวายในเวทีการเมืองของประเทศไทย และประเทศด้อยพัฒนาทางการเมืองทั่วไป ทั้งๆ ทร่ีฐัธรรมนูญขององักฤษน่าจะมปีญั หามากกว่าประเทศอื่นด้วยเหตุผลที่กล่าวข้างต้น จึงมีการกล่าวว่า “รัฐธรรมนูญอังกฤษเปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญที่มีชีวิต” รัฐธรรมนูญอังกฤษมีเอกลักษณ์ที่น่าสนใจ คือ อังกฤษเป็นประเทศเดียวที่ไม่มีรัฐธรรมนูญเป็นลายลักษณ์อักษรซึ่งหมายถึง หลักการปกครองต่างๆ ไม่ได้อยู่รวมกันเป็น รัฐธรรมนูญเฉพาะ แต่กระจายอยู่ตามกฎหมายต่างๆ และคําพิพากษาต่างๆ รวมทั้งธรรมเนียมปฏิบัติที่สืบทอดกันมาจนกลายเป็นจารีตประเพณี ดังนั้น จึงมีความยืดหยุ่น สามารถเปลี่ยนแปลงได้เสมอ เสมือนเป็นสิ่งมีชีวิต สิ่งที่กล่าวมานี้ท าให้รัฐธรรมนูญอังกฤษมีเอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง อันเป็นผลมาจากวิวัฒนาการยาวนานของระบอบประชาธิปไตยในประเทศอังกฤษที่สะท้อนให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในดุลอ านาจของกลุ่ม และชนชั้นต่างๆ ดังจะเห็นได้ว่ารัฐธรรมนูญอังกฤษในยุคแรกเป็นการดุลอํานาจระหว่างพระมหากษัตริย์กับกลุ่มขุนนาง ต่อมาในศตวรรษที่ 19 มีรัฐธรรมนูญที่เป็นตัวแทนของชนชั้นกลางมากขึ้น เรื่อยมาจนเป็นรัฐธรรมนูญแบบประชาธิปไตยในศตวรรษที่ 20
ในการด าเนินการดังกล่าวเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลมีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่รัฐบาลจะต้องเสริมสร้างการสนับสนุน ส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม และมีหลายประเด็นที่ได้เป็นการจุดประกายความคิดเพื่อแกป้ ญั หาพน้ืฐานของสงัคมไทย ไม่ว่าจะเป็นปญั หาโครงสรา้งอา นาจรฐัทถ่ีูกรวมศนู ย ์ความสมพันธ์  เ์ชงิอุปถมัภใ์นสังคมทุกระดับ ความเหลื่อมล ้าทางเศรษฐกิจและสังคม ผ่านกระบวนการ “พูดจาหาทางออกประเทศไทย” อันเป็นการเปิดโอกาสให้มีการเปรียบเทียบและการให้การศึกษาทางการเมืองกับประชาชนอีกทางหนึ่งด้วย หากเป็นเช่นนี้แล้ว กระบวนการพูดจาจะเป็นสาธารณะส่ีาคัญในการใหฝ่ายทม่ี คีวามคดิเหน็แตกต่างกนัไดเ้ขา้มาร่วมเจรจาต่อรอง จัดวางกรอบกติกาของบ้านเมือง อันจะเป็นทางออกของประเทศไทยในอนาคต